[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
  
 


เนื้อหา : เรื่องเด่นวันนี้
หมวดหมู่ : ข่าวประชาสัมพันธ์
หัวข้อเรื่อง : นาซาทำ หินดวงจันทร์ หายกว่า 500 ก้อน

พฤหัสบดี ที่ 12 เดือน มกราคม พ.ศ.2555



 

 
 
นาซาทำหินดวงจันทร์ หายกว่า 500 ก้อน!!!




ตัวอย่างหินดวงจันทร์ที่เก็บมาโดยมนุษย์อวกาศในปฏิบัติการอะพอลโล 14 เมื่อปี 1971 (สเปซด็อทคอม/นาซา)
นาซาทำตัวอย่าง “หินดวงจันทร์” ที่ขนมาโดยมนุษย์อวกาศในโครงการอะพอลโลกหายไปกว่า 500 ก้อน หลังจากให้นักวิจัยและองค์กรต่างทั่วโลกยืมไปกว่า 26,000 ก้อน บางชิ้นถูกยืมไปโดยไม่ได้ถูกใช้ประโยชน์ บางชิ้นคนยืมตายหรือเกษียณและตามหาไม่เจอ โดยเจ้าหน้าที่ตรวจสอบแนะนำให้ยกเครื่องระเบียบการขอยืมครั้งใหญ่

จากการเผยของสำนักงานตรวจสอบทั่วไป (Office of Inspector General) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ระบุว่า องค์การอวกาศสหรัฐฯ ขาดประสิทธิภาพในควบคุมหินดวงจันทร์และวัตถุอวกาศของตนเองที่ให้ผู้อื่นยืมไป ซึ่งจะเพิ่มความเสี่ยงที่ทรัพยากรอันจำเพาะนี้จะหายไปด้วย ซึ่งตามรายงานของสเปซด็อทคอมชี้ว่า นาซาได้ทำหินดวงจันทร์ที่มนุษย์อวกาศในโครงการอะพอลโล (Apollo) นำกลับมายังโลกหายไปหรืออาจจะนำไปไว้ผิดที่ผิดทางกว่า 500 ก้อน

รายงานซึ่งเผยมาเมื่อประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนยังเน้นเป็นพิเศษถึงความสำคัญของการรักษากฏเกณฑ์อันเข้มงวดในการแจกจ่ายวัตถุดวงจันทร์แก่นักวิจัย รวมถึงมีความพิถีพิถันในการทำรายสิ่งของที่พวกเก็บไว้ รวมถึงสิ่งของที่ได้คืนกลับมาด้วย

พอล เค มาร์ติน (Paul K. Martin) ผู้ตรวจทั่วไปกล่าวว่า นาซาทำวัตถุอวกาศสูญหายมาตั้งแต่ตัวอย่างดวงจันทร์ชิ้นแรกถูกนำกลับมาในปฏิบัติการอะพอลโล โดยนาซายืนยันว่า ในช่วงปี ค.ศ.1970-2010 วัตถุอวกาศที่ให้หยิบยืมไปนั้นสูญหายหรือถูกขโมยไป 516 ชิ้น ซึ่งรวมถึงตัวอย่างจากดวงจันทร์ 18 ชิ้นที่ได้รับรายงานจากนักวิจัยเมื่อปี 2010 ว่าสูญหาย กับตัวอย่างจากดวงจันทร์และอุกกาบาตอีก 218 ชิ้นที่ถูกขโมยจากนักวิจัยในศูนย์อวกาศจอห์นสัน (Johnson Space Center) ของนาซาเมื่อปี 2002 แต่ได้กลับคืน

มาร์ตินได้ตรวจสอบบัญชีนักวิจัย 59 คน ที่ได้รับตัวอย่างจากนาซาและพบว่าพวกเขา 11 คนหรือคิดเป็น 19% ไม่สามารถระบุที่อยู่ของตัวอย่างอวกาศที่ยืมมาได้ และยังพบด้วยว่า สำนักงานถือครองสิทธิ์และรับมอบอำนาจดูแลวัตถุอวกาศ (Astromaterials Acquisition and Curation Office) ณ ศูนย์อวกาศจอห์นสัน ได้เก็บบันทึกตัวอย่างวัตถุอวกาศหลายร้อยชิ้นที่ไม่มีอยู่แล้ว ถูกยืมโดยนักวิจัย 12 รายที่มีทั้งเสียชีวิต เกษียณ ย้ายที่อยู่และบางกรณีทางสำนักงานก็ไม่มีข้อมูลของนักวิจัย ซึ่งตัวอย่างที่ถูกยืมไปนั้นก็ไม่ได้กลับคืน

“ทางสำนักงานถือครองสิทธิ์ไม่อาจให้การรับรองได้ว่าตัวอย่างที่ถูกยืมไปเพื่อวิจัยนี้ถูกใช้ไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ส่งกลับคืนแก่นาซาเรียบร้อยแล้วหรือไม่ ตัวอย่างหนึ่งที่ได้เราทราบคือมีนักวิจัยที่ได้ยืมตัวอย่างจากดวงจันทร์มาเป้นเวลา 35 ปีแล้ว แต่เขาก็ไม่เคยได้ทำการวิจัยตัวอย่างดังกล่าวเลย” มาร์ตินระบุในรายงาน

เพื่อตอบสนองแก่รายงานการตรวจสอบทั่วไปสเปซ็อทคอมรายงานว่า ทางนาซากำลังจะปรับปรุงข้อตกลงและขั้นตอนในการยืมตัวอย่างอวกาศ โดย ดเวย์น บราวน์ (Dwayne Brown) โฆษกของนาซากล่าวว่า นาซาให้สัญญาที่จะปกป้องวัตถุอวกาศซึ่งเป็นสมบัติของสหรัฐฯ และจะแบ่งปันสมบัติเหล่านี้แก่นักวิจัยภายนอกและสาธารณชนทั่วไป

“เราเห็นด้วยกับคำแนะนำในรายงานการตรวจสอบทั่วไปที่เพิ่งเผยออกมา ที่ได้ตรวจสอบการควบคุมในการให้นักวิจัยและผู้ให้การศึกษายืมหินดวงจันทร์และวัตถุอวกาศอื่นๆ การตอบสนองจะเห็นผลเร็วๆ นี้จากการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงในการขอยืมและขั้นตอนควบคุมในการเก็บรักษา” โฆษกนาซาแถลง และเสริมด้วยว่า ทางนาซาไม่ได้มองว่าหินดวงจันทร์และตัวอย่างอื่นจากดวงจันทร์จะอยู่ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง และคาดว่าจะใช้เวลาในการปรับปรุงกฏระเบียบในการขอยืมตัวอย่างอวกาศให้เสร็จภายใน 9 เดือน

ทางด้าน โรเบิร์ต เพิร์ลแมน (Robert Pearlman) บรรณาธิการของสเปซด็อทคอมระบุว่า จากรายงานของสำนักงานตรวจสอบทั่วไปนั้น มีตัวอย่างอวกาศของนาซาที่ถูกยืมออกไป 26,000 ชิ้น แต่สูญหายไปเพียง 517 ชิ้น ซึ่งเป็นเรื่องไม่น่าให้อภัยแก่องค์การอวกาศและสำนักงานถือครองสิทธิ์ แต่มีตัวอย่างจากดวงจันทร์จำนวที่กระจายไปทั่วโลก การสูญหายบ้างจึงเป็นเรื่องที่พอจะคาดเดาได้ แต่การสูญหายก็ยังเป็นเรื่องน่าเศร้าและควรจะเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงปัญหาสาธารณะในวงกว้าง

“บางทีนี่อาจจะเป็นสัญญาณของยุคสมัยที่นักวิจัยทางวิทยาศาสตร์บางคนและองค์กรการศึกษาบางแห่งที่ยืมตัวอย่างไปแล้วทำหายนั้น ไม่ได้ตระหนักถึงการเป็นสิ่งหาได้ยากและความสำคัญเชิงประวัติศาสตร์ของวัตถุจากดวงจันทร์เหล่านี้ ดูเหมือนว่าดวงจันทร์หรืออย่างน้อยการสำรวจดวงจันทร์โดยมนุษย์นั้นได้สูญเสียความเรืองรองที่เปล่งแสงออกมาเมื่อ 4 ทศวรรษก่อน” เพิร์ลแมนกล่าว

จากปี 1969 ถึง 1972 มีมนุษย์อวกาศ 12 คน ที่ได้เหยียบบนดวงจันทร์ ระหว่างปฏิบัติภารกิจในโครงการอะพอลโล และในปฏิบัติการลงจอดบนดวงจันทร์ทั้งหมด 6 ครั้งนั้น พวกเขาได้นำตัวอย่างหินและดินดวงจันทร์ หนัก 382 กิโลกรัมกลับมา และนาซาได้ให้พิพิธภัณฑ์ นักวิจัย นักการศึกษาและสถาบันต่างๆ ทั่วโลกยืมหินดวงจันทร์ อุกกาบาตและตัวอย่างจากฝุ่นดาวหางอยู่เป็นประจำ

ในรายงานของผู้ตรวจระบุว่าสำนักงานถือครองสิทธิ์ฯ ของนาซามีวัตถุอวกาศเป็นตัวอย่างจากดวงจันทร์ 140,000 ชิ้น ตัวอย่างอุกกาบาต 18,000 ชิ้น และมีตัวอย่างจากลมสุริยะ ดาวหางและฝุ่นอวกาศอีกประมาณ 5,000 ชิ้น ซึ่งจนถึงเดือน มี.ค.2011 มีตัวอย่างอวกาศเหล่านี้กว่า 26,000 ชิ้น ที่ถูกยืมไปเพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ กิจการการศึกษาและจัดแสดงแก่สาธารณะ

การยกเครื่องระบบครั้งใหญ่เพื่อดูแลการได้ตัวอย่างอวกาศกลับคืนนั้นเป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง แต่เพิร์ลแมนได้ให้ความเห็นว่า เป็นไปได้ว่าคำถามที่สำคัญกว่าคือ ทำไมตัวอย่างเหล่านี้ไม่ถูกนำไปใช้อย่างจริงจัง ทั้งในงานวิจัยปัจจุบันและการศึกษา ซึ่งเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดเจนกว่าการสูญหายหรือถูกขโมย

“ทำไมจึงมีนักวิจัยที่ได้รับตัวอย่างไปแล้วไม่ได้ใช้มัน ทำไมจึงมอบตัวอย่างการศึกษาให้แก่เจ้าหน้าที่บางคน โดยไม่มีคนอื่นตระหนักรู้ถึงวัตถุเหล่านั้น” เพิร์ลแมนให้ความเห็น
ตัวอย่างจากดวงจันทร์หมายเลข 60025 ที่เก็บมาโดยมนุษย์อวกาศในปฏิบัติการอะพอลโล 16 เมื่อปี 1972 ซึ่งเ)้นปฏิบัติการลงจอดดวงจันทร์ครั้งที่ 5 (สเปซด็อทคอม/นาซา)
จอห์น ยัง (John Young) ผู้บังคับการในปฏิบัติการอะพอลโล 16 ปักธงชาติสหรัฐฯ บนดวงจันทร์ ซึ่ง ชาร์ลส เอ็ม ดุค (Charles M. Duke) นักบินในปฏิบัติการนี้เป็นผู้บันทึกภาพ(สเปซด็อทคอม/นาซา)

นาซาทำตัวอย่าง “หินดวงจันทร์” ที่ขนมาโดยมนุษย์อวกาศในโครงการอะพอลโลกหายไปกว่า 500 ก้อน หลังจากให้นักวิจัยและองค์กรต่างทั่วโลกยืมไปกว่า 26,000 ก้อน บางชิ้นถูกยืมไปโดยไม่ได้ถูกใช้ประโยชน์ บางชิ้นคนยืมตายหรือเกษียณและตามหาไม่เจอ โดยเจ้าหน้าที่ตรวจสอบแนะนำให้ยกเครื่องระเบียบการขอยืมครั้งใหญ่

จากการเผยของสำนักงานตรวจสอบทั่วไป (Office of Inspector General) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ระบุว่า องค์การอวกาศสหรัฐฯ ขาดประสิทธิภาพในควบคุมหินดวงจันทร์และวัตถุอวกาศของตนเองที่ให้ผู้อื่นยืมไป ซึ่งจะเพิ่มความเสี่ยงที่ทรัพยากรอันจำเพาะนี้จะหายไปด้วย ซึ่งตามรายงานของสเปซด็อทคอมชี้ว่า นาซาได้ทำหินดวงจันทร์ที่มนุษย์อวกาศในโครงการอะพอลโล (Apollo) นำกลับมายังโลกหายไปหรืออาจจะนำไปไว้ผิดที่ผิดทางกว่า 500 ก้อน

รายงานซึ่งเผยมาเมื่อประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนยังเน้นเป็นพิเศษถึงความสำคัญของการรักษากฏเกณฑ์อันเข้มงวดในการแจกจ่ายวัตถุดวงจันทร์แก่นักวิจัย รวมถึงมีความพิถีพิถันในการทำรายสิ่งของที่พวกเก็บไว้ รวมถึงสิ่งของที่ได้คืนกลับมาด้วย

พอล เค มาร์ติน (Paul K. Martin) ผู้ตรวจทั่วไปกล่าวว่า นาซาทำวัตถุอวกาศสูญหายมาตั้งแต่ตัวอย่างดวงจันทร์ชิ้นแรกถูกนำกลับมาในปฏิบัติการอะพอลโล โดยนาซายืนยันว่า ในช่วงปี ค.ศ.1970-2010 วัตถุอวกาศที่ให้หยิบยืมไปนั้นสูญหายหรือถูกขโมยไป 516 ชิ้น ซึ่งรวมถึงตัวอย่างจากดวงจันทร์ 18 ชิ้นที่ได้รับรายงานจากนักวิจัยเมื่อปี 2010 ว่าสูญหาย กับตัวอย่างจากดวงจันทร์และอุกกาบาตอีก 218 ชิ้นที่ถูกขโมยจากนักวิจัยในศูนย์อวกาศจอห์นสัน (Johnson Space Center) ของนาซาเมื่อปี 2002 แต่ได้กลับคืน

มาร์ตินได้ตรวจสอบบัญชีนักวิจัย 59 คน ที่ได้รับตัวอย่างจากนาซาและพบว่าพวกเขา 11 คนหรือคิดเป็น 19% ไม่สามารถระบุที่อยู่ของตัวอย่างอวกาศที่ยืมมาได้ และยังพบด้วยว่า สำนักงานถือครองสิทธิ์และรับมอบอำนาจดูแลวัตถุอวกาศ (Astromaterials Acquisition and Curation Office) ณ ศูนย์อวกาศจอห์นสัน ได้เก็บบันทึกตัวอย่างวัตถุอวกาศหลายร้อยชิ้นที่ไม่มีอยู่แล้ว ถูกยืมโดยนักวิจัย 12 รายที่มีทั้งเสียชีวิต เกษียณ ย้ายที่อยู่และบางกรณีทางสำนักงานก็ไม่มีข้อมูลของนักวิจัย ซึ่งตัวอย่างที่ถูกยืมไปนั้นก็ไม่ได้กลับคืน

“ทางสำนักงานถือครองสิทธิ์ไม่อาจให้การรับรองได้ว่าตัวอย่างที่ถูกยืมไปเพื่อวิจัยนี้ถูกใช้ไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ส่งกลับคืนแก่นาซาเรียบร้อยแล้วหรือไม่ ตัวอย่างหนึ่งที่ได้เราทราบคือมีนักวิจัยที่ได้ยืมตัวอย่างจากดวงจันทร์มาเป้นเวลา 35 ปีแล้ว แต่เขาก็ไม่เคยได้ทำการวิจัยตัวอย่างดังกล่าวเลย” มาร์ตินระบุในรายงาน

เพื่อตอบสนองแก่รายงานการตรวจสอบทั่วไปสเปซ็อทคอมรายงานว่า ทางนาซากำลังจะปรับปรุงข้อตกลงและขั้นตอนในการยืมตัวอย่างอวกาศ โดย ดเวย์น บราวน์ (Dwayne Brown) โฆษกของนาซากล่าวว่า นาซาให้สัญญาที่จะปกป้องวัตถุอวกาศซึ่งเป็นสมบัติของสหรัฐฯ และจะแบ่งปันสมบัติเหล่านี้แก่นักวิจัยภายนอกและสาธารณชนทั่วไป

“เราเห็นด้วยกับคำแนะนำในรายงานการตรวจสอบทั่วไปที่เพิ่งเผยออกมา ที่ได้ตรวจสอบการควบคุมในการให้นักวิจัยและผู้ให้การศึกษายืมหินดวงจันทร์และวัตถุอวกาศอื่นๆ การตอบสนองจะเห็นผลเร็วๆ นี้จากการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงในการขอยืมและขั้นตอนควบคุมในการเก็บรักษา” โฆษกนาซาแถลง และเสริมด้วยว่า ทางนาซาไม่ได้มองว่าหินดวงจันทร์และตัวอย่างอื่นจากดวงจันทร์จะอยู่ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง และคาดว่าจะใช้เวลาในการปรับปรุงกฏระเบียบในการขอยืมตัวอย่างอวกาศให้เสร็จภายใน 9 เดือน

ทางด้าน โรเบิร์ต เพิร์ลแมน (Robert Pearlman) บรรณาธิการของสเปซด็อทคอมระบุว่า จากรายงานของสำนักงานตรวจสอบทั่วไปนั้น มีตัวอย่างอวกาศของนาซาที่ถูกยืมออกไป 26,000 ชิ้น แต่สูญหายไปเพียง 517 ชิ้น ซึ่งเป็นเรื่องไม่น่าให้อภัยแก่องค์การอวกาศและสำนักงานถือครองสิทธิ์ แต่มีตัวอย่างจากดวงจันทร์จำนวที่กระจายไปทั่วโลก การสูญหายบ้างจึงเป็นเรื่องที่พอจะคาดเดาได้ แต่การสูญหายก็ยังเป็นเรื่องน่าเศร้าและควรจะเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงปัญหาสาธารณะในวงกว้าง

“บางทีนี่อาจจะเป็นสัญญาณของยุคสมัยที่นักวิจัยทางวิทยาศาสตร์บางคนและองค์กรการศึกษาบางแห่งที่ยืมตัวอย่างไปแล้วทำหายนั้น ไม่ได้ตระหนักถึงการเป็นสิ่งหาได้ยากและความสำคัญเชิงประวัติศาสตร์ของวัตถุจากดวงจันทร์เหล่านี้ ดูเหมือนว่าดวงจันทร์หรืออย่างน้อยการสำรวจดวงจันทร์โดยมนุษย์นั้นได้สูญเสียความเรืองรองที่เปล่งแสงออกมาเมื่อ 4 ทศวรรษก่อน” เพิร์ลแมนกล่าว

จากปี 1969 ถึง 1972 มีมนุษย์อวกาศ 12 คน ที่ได้เหยียบบนดวงจันทร์ ระหว่างปฏิบัติภารกิจในโครงการอะพอลโล และในปฏิบัติการลงจอดบนดวงจันทร์ทั้งหมด 6 ครั้งนั้น พวกเขาได้นำตัวอย่างหินและดินดวงจันทร์ หนัก 382 กิโลกรัมกลับมา และนาซาได้ให้พิพิธภัณฑ์ นักวิจัย นักการศึกษาและสถาบันต่างๆ ทั่วโลกยืมหินดวงจันทร์ อุกกาบาตและตัวอย่างจากฝุ่นดาวหางอยู่เป็นประจำ

ในรายงานของผู้ตรวจระบุว่าสำนักงานถือครองสิทธิ์ฯ ของนาซามีวัตถุอวกาศเป็นตัวอย่างจากดวงจันทร์ 140,000 ชิ้น ตัวอย่างอุกกาบาต 18,000 ชิ้น และมีตัวอย่างจากลมสุริยะ ดาวหางและฝุ่นอวกาศอีกประมาณ 5,000 ชิ้น ซึ่งจนถึงเดือน มี.ค.2011 มีตัวอย่างอวกาศเหล่านี้กว่า 26,000 ชิ้น ที่ถูกยืมไปเพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ กิจการการศึกษาและจัดแสดงแก่สาธารณะ

การยกเครื่องระบบครั้งใหญ่เพื่อดูแลการได้ตัวอย่างอวกาศกลับคืนนั้นเป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง แต่เพิร์ลแมนได้ให้ความเห็นว่า เป็นไปได้ว่าคำถามที่สำคัญกว่าคือ ทำไมตัวอย่างเหล่านี้ไม่ถูกนำไปใช้อย่างจริงจัง ทั้งในงานวิจัยปัจจุบันและการศึกษา ซึ่งเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดเจนกว่าการสูญหายหรือถูกขโมย

“ทำไมจึงมีนักวิจัยที่ได้รับตัวอย่างไปแล้วไม่ได้ใช้มัน ทำไมจึงมอบตัวอย่างการศึกษาให้แก่เจ้าหน้าที่บางคน โดยไม่มีคนอื่นตระหนักรู้ถึงวัตถุเหล่านั้น” เพิร์ลแมนให้ความเห็น
ตัวอย่างจากดวงจันทร์หมายเลข 60025 ที่เก็บมาโดยมนุษย์อวกาศในปฏิบัติการอะพอลโล 16 เมื่อปี 1972 ซึ่งเ)้นปฏิบัติการลงจอดดวงจันทร์ครั้งที่ 5 (สเปซด็อทคอม/นาซา)
จอห์น ยัง (John Young) ผู้บังคับการในปฏิบัติการอะพอลโล 16 ปักธงชาติสหรัฐฯ บนดวงจันทร์ ซึ่ง ชาร์ลส เอ็ม ดุค (Charles M. Duke) นักบินในปฏิบัติการนี้เป็นผู้บันทึกภาพ(สเปซด็อทคอม/นาซา)
นาซาทำตัวอย่าง “หินดวงจันทร์” ที่ขนมาโดยมนุษย์อวกาศในโครงการอะพอลโลกหายไปกว่า 500 ก้อน หลังจากให้นักวิจัยและองค์กรต่างทั่วโลกยืมไปกว่า 26,000 ก้อน บางชิ้นถูกยืมไปโดยไม่ได้ถูกใช้ประโยชน์ บางชิ้นคนยืมตายหรือเกษียณและตามหาไม่เจอ โดยเจ้าหน้าที่ตรวจสอบแนะนำให้ยกเครื่องระเบียบการขอยืมครั้งใหญ่

จากการเผยของสำนักงานตรวจสอบทั่วไป (Office of Inspector General) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ระบุว่า องค์การอวกาศสหรัฐฯ ขาดประสิทธิภาพในควบคุมหินดวงจันทร์และวัตถุอวกาศของตนเองที่ให้ผู้อื่นยืมไป ซึ่งจะเพิ่มความเสี่ยงที่ทรัพยากรอันจำเพาะนี้จะหายไปด้วย ซึ่งตามรายงานของสเปซด็อทคอมชี้ว่า นาซาได้ทำหินดวงจันทร์ที่มนุษย์อวกาศในโครงการอะพอลโล (Apollo) นำกลับมายังโลกหายไปหรืออาจจะนำไปไว้ผิดที่ผิดทางกว่า 500 ก้อน

รายงานซึ่งเผยมาเมื่อประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนยังเน้นเป็นพิเศษถึงความสำคัญของการรักษากฏเกณฑ์อันเข้มงวดในการแจกจ่ายวัตถุดวงจันทร์แก่นักวิจัย รวมถึงมีความพิถีพิถันในการทำรายสิ่งของที่พวกเก็บไว้ รวมถึงสิ่งของที่ได้คืนกลับมาด้วย

พอล เค มาร์ติน (Paul K. Martin) ผู้ตรวจทั่วไปกล่าวว่า นาซาทำวัตถุอวกาศสูญหายมาตั้งแต่ตัวอย่างดวงจันทร์ชิ้นแรกถูกนำกลับมาในปฏิบัติการอะพอลโล โดยนาซายืนยันว่า ในช่วงปี ค.ศ.1970-2010 วัตถุอวกาศที่ให้หยิบยืมไปนั้นสูญหายหรือถูกขโมยไป 516 ชิ้น ซึ่งรวมถึงตัวอย่างจากดวงจันทร์ 18 ชิ้นที่ได้รับรายงานจากนักวิจัยเมื่อปี 2010 ว่าสูญหาย กับตัวอย่างจากดวงจันทร์และอุกกาบาตอีก 218 ชิ้นที่ถูกขโมยจากนักวิจัยในศูนย์อวกาศจอห์นสัน (Johnson Space Center) ของนาซาเมื่อปี 2002 แต่ได้กลับคืน

มาร์ตินได้ตรวจสอบบัญชีนักวิจัย 59 คน ที่ได้รับตัวอย่างจากนาซาและพบว่าพวกเขา 11 คนหรือคิดเป็น 19% ไม่สามารถระบุที่อยู่ของตัวอย่างอวกาศที่ยืมมาได้ และยังพบด้วยว่า สำนักงานถือครองสิทธิ์และรับมอบอำนาจดูแลวัตถุอวกาศ (Astromaterials Acquisition and Curation Office) ณ ศูนย์อวกาศจอห์นสัน ได้เก็บบันทึกตัวอย่างวัตถุอวกาศหลายร้อยชิ้นที่ไม่มีอยู่แล้ว ถูกยืมโดยนักวิจัย 12 รายที่มีทั้งเสียชีวิต เกษียณ ย้ายที่อยู่และบางกรณีทางสำนักงานก็ไม่มีข้อมูลของนักวิจัย ซึ่งตัวอย่างที่ถูกยืมไปนั้นก็ไม่ได้กลับคืน

“ทางสำนักงานถือครองสิทธิ์ไม่อาจให้การรับรองได้ว่าตัวอย่างที่ถูกยืมไปเพื่อวิจัยนี้ถูกใช้ไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ส่งกลับคืนแก่นาซาเรียบร้อยแล้วหรือไม่ ตัวอย่างหนึ่งที่ได้เราทราบคือมีนักวิจัยที่ได้ยืมตัวอย่างจากดวงจันทร์มาเป้นเวลา 35 ปีแล้ว แต่เขาก็ไม่เคยได้ทำการวิจัยตัวอย่างดังกล่าวเลย” มาร์ตินระบุในรายงาน

เพื่อตอบสนองแก่รายงานการตรวจสอบทั่วไปสเปซ็อทคอมรายงานว่า ทางนาซากำลังจะปรับปรุงข้อตกลงและขั้นตอนในการยืมตัวอย่างอวกาศ โดย ดเวย์น บราวน์ (Dwayne Brown) โฆษกของนาซากล่าวว่า นาซาให้สัญญาที่จะปกป้องวัตถุอวกาศซึ่งเป็นสมบัติของสหรัฐฯ และจะแบ่งปันสมบัติเหล่านี้แก่นักวิจัยภายนอกและสาธารณชนทั่วไป

“เราเห็นด้วยกับคำแนะนำในรายงานการตรวจสอบทั่วไปที่เพิ่งเผยออกมา ที่ได้ตรวจสอบการควบคุมในการให้นักวิจัยและผู้ให้การศึกษายืมหินดวงจันทร์และวัตถุอวกาศอื่นๆ การตอบสนองจะเห็นผลเร็วๆ นี้จากการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงในการขอยืมและขั้นตอนควบคุมในการเก็บรักษา” โฆษกนาซาแถลง และเสริมด้วยว่า ทางนาซาไม่ได้มองว่าหินดวงจันทร์และตัวอย่างอื่นจากดวงจันทร์จะอยู่ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง และคาดว่าจะใช้เวลาในการปรับปรุงกฏระเบียบในการขอยืมตัวอย่างอวกาศให้เสร็จภายใน 9 เดือน

ทางด้าน โรเบิร์ต เพิร์ลแมน (Robert Pearlman) บรรณาธิการของสเปซด็อทคอมระบุว่า จากรายงานของสำนักงานตรวจสอบทั่วไปนั้น มีตัวอย่างอวกาศของนาซาที่ถูกยืมออกไป 26,000 ชิ้น แต่สูญหายไปเพียง 517 ชิ้น ซึ่งเป็นเรื่องไม่น่าให้อภัยแก่องค์การอวกาศและสำนักงานถือครองสิทธิ์ แต่มีตัวอย่างจากดวงจันทร์จำนวที่กระจายไปทั่วโลก การสูญหายบ้างจึงเป็นเรื่องที่พอจะคาดเดาได้ แต่การสูญหายก็ยังเป็นเรื่องน่าเศร้าและควรจะเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงปัญหาสาธารณะในวงกว้าง

“บางทีนี่อาจจะเป็นสัญญาณของยุคสมัยที่นักวิจัยทางวิทยาศาสตร์บางคนและองค์กรการศึกษาบางแห่งที่ยืมตัวอย่างไปแล้วทำหายนั้น ไม่ได้ตระหนักถึงการเป็นสิ่งหาได้ยากและความสำคัญเชิงประวัติศาสตร์ของวัตถุจากดวงจันทร์เหล่านี้ ดูเหมือนว่าดวงจันทร์หรืออย่างน้อยการสำรวจดวงจันทร์โดยมนุษย์นั้นได้สูญเสียความเรืองรองที่เปล่งแสงออกมาเมื่อ 4 ทศวรรษก่อน” เพิร์ลแมนกล่าว

จากปี 1969 ถึง 1972 มีมนุษย์อวกาศ 12 คน ที่ได้เหยียบบนดวงจันทร์ ระหว่างปฏิบัติภารกิจในโครงการอะพอลโล และในปฏิบัติการลงจอดบนดวงจันทร์ทั้งหมด 6 ครั้งนั้น พวกเขาได้นำตัวอย่างหินและดินดวงจันทร์ หนัก 382 กิโลกรัมกลับมา และนาซาได้ให้พิพิธภัณฑ์ นักวิจัย นักการศึกษาและสถาบันต่างๆ ทั่วโลกยืมหินดวงจันทร์ อุกกาบาตและตัวอย่างจากฝุ่นดาวหางอยู่เป็นประจำ

ในรายงานของผู้ตรวจระบุว่าสำนักงานถือครองสิทธิ์ฯ ของนาซามีวัตถุอวกาศเป็นตัวอย่างจากดวงจันทร์ 140,000 ชิ้น ตัวอย่างอุกกาบาต 18,000 ชิ้น และมีตัวอย่างจากลมสุริยะ ดาวหางและฝุ่นอวกาศอีกประมาณ 5,000 ชิ้น ซึ่งจนถึงเดือน มี.ค.2011 มีตัวอย่างอวกาศเหล่านี้กว่า 26,000 ชิ้น ที่ถูกยืมไปเพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ กิจการการศึกษาและจัดแสดงแก่สาธารณะ

การยกเครื่องระบบครั้งใหญ่เพื่อดูแลการได้ตัวอย่างอวกาศกลับคืนนั้นเป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง แต่เพิร์ลแมนได้ให้ความเห็นว่า เป็นไปได้ว่าคำถามที่สำคัญกว่าคือ ทำไมตัวอย่างเหล่านี้ไม่ถูกนำไปใช้อย่างจริงจัง ทั้งในงานวิจัยปัจจุบันและการศึกษา ซึ่งเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดเจนกว่าการสูญหายหรือถูกขโมย

“ทำไมจึงมีนักวิจัยที่ได้รับตัวอย่างไปแล้วไม่ได้ใช้มัน ทำไมจึงมอบตัวอย่างการศึกษาให้แก่เจ้าหน้าที่บางคน โดยไม่มีคนอื่นตระหนักรู้ถึงวัตถุเหล่านั้น” เพิร์ลแมนให้ความเห็น

นาซาทำตัวอย่าง “หินดวงจันทร์” ที่ขนมาโดยมนุษย์อวกาศในโครงการอะพอลโลกหายไปกว่า 500 ก้อน หลังจากให้นักวิจัยและองค์กรต่างทั่วโลกยืมไปกว่า 26,000 ก้อน บางชิ้นถูกยืมไปโดยไม่ได้ถูกใช้ประโยชน์ บางชิ้นคนยืมตายหรือเกษียณและตามหาไม่เจอ โดยเจ้าหน้าที่ตรวจสอบแนะนำให้ยกเครื่องระเบียบการขอยืมครั้งใหญ่

จากการเผยของสำนักงานตรวจสอบทั่วไป (Office of Inspector General) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ระบุว่า องค์การอวกาศสหรัฐฯ ขาดประสิทธิภาพในควบคุมหินดวงจันทร์และวัตถุอวกาศของตนเองที่ให้ผู้อื่นยืมไป ซึ่งจะเพิ่มความเสี่ยงที่ทรัพยากรอันจำเพาะนี้จะหายไปด้วย ซึ่งตามรายงานของสเปซด็อทคอมชี้ว่า นาซาได้ทำหินดวงจันทร์ที่มนุษย์อวกาศในโครงการอะพอลโล (Apollo) นำกลับมายังโลกหายไปหรืออาจจะนำไปไว้ผิดที่ผิดทางกว่า 500 ก้อน

รายงานซึ่งเผยมาเมื่อประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนยังเน้นเป็นพิเศษถึงความสำคัญของการรักษากฏเกณฑ์อันเข้มงวดในการแจกจ่ายวัตถุดวงจันทร์แก่นักวิจัย รวมถึงมีความพิถีพิถันในการทำรายสิ่งของที่พวกเก็บไว้ รวมถึงสิ่งของที่ได้คืนกลับมาด้วย

พอล เค มาร์ติน (Paul K. Martin) ผู้ตรวจทั่วไปกล่าวว่า นาซาทำวัตถุอวกาศสูญหายมาตั้งแต่ตัวอย่างดวงจันทร์ชิ้นแรกถูกนำกลับมาในปฏิบัติการอะพอลโล โดยนาซายืนยันว่า ในช่วงปี ค.ศ.1970-2010 วัตถุอวกาศที่ให้หยิบยืมไปนั้นสูญหายหรือถูกขโมยไป 516 ชิ้น ซึ่งรวมถึงตัวอย่างจากดวงจันทร์ 18 ชิ้นที่ได้รับรายงานจากนักวิจัยเมื่อปี 2010 ว่าสูญหาย กับตัวอย่างจากดวงจันทร์และอุกกาบาตอีก 218 ชิ้นที่ถูกขโมยจากนักวิจัยในศูนย์อวกาศจอห์นสัน (Johnson Space Center) ของนาซาเมื่อปี 2002 แต่ได้กลับคืน

มาร์ตินได้ตรวจสอบบัญชีนักวิจัย 59 คน ที่ได้รับตัวอย่างจากนาซาและพบว่าพวกเขา 11 คนหรือคิดเป็น 19% ไม่สามารถระบุที่อยู่ของตัวอย่างอวกาศที่ยืมมาได้ และยังพบด้วยว่า สำนักงานถือครองสิทธิ์และรับมอบอำนาจดูแลวัตถุอวกาศ (Astromaterials Acquisition and Curation Office) ณ ศูนย์อวกาศจอห์นสัน ได้เก็บบันทึกตัวอย่างวัตถุอวกาศหลายร้อยชิ้นที่ไม่มีอยู่แล้ว ถูกยืมโดยนักวิจัย 12 รายที่มีทั้งเสียชีวิต เกษียณ ย้ายที่อยู่และบางกรณีทางสำนักงานก็ไม่มีข้อมูลของนักวิจัย ซึ่งตัวอย่างที่ถูกยืมไปนั้นก็ไม่ได้กลับคืน

“ทางสำนักงานถือครองสิทธิ์ไม่อาจให้การรับรองได้ว่าตัวอย่างที่ถูกยืมไปเพื่อวิจัยนี้ถูกใช้ไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ส่งกลับคืนแก่นาซาเรียบร้อยแล้วหรือไม่ ตัวอย่างหนึ่งที่ได้เราทราบคือมีนักวิจัยที่ได้ยืมตัวอย่างจากดวงจันทร์มาเป้นเวลา 35 ปีแล้ว แต่เขาก็ไม่เคยได้ทำการวิจัยตัวอย่างดังกล่าวเลย” มาร์ตินระบุในรายงาน

เพื่อตอบสนองแก่รายงานการตรวจสอบทั่วไปสเปซ็อทคอมรายงานว่า ทางนาซากำลังจะปรับปรุงข้อตกลงและขั้นตอนในการยืมตัวอย่างอวกาศ โดย ดเวย์น บราวน์ (Dwayne Brown) โฆษกของนาซากล่าวว่า นาซาให้สัญญาที่จะปกป้องวัตถุอวกาศซึ่งเป็นสมบัติของสหรัฐฯ และจะแบ่งปันสมบัติเหล่านี้แก่นักวิจัยภายนอกและสาธารณชนทั่วไป

“เราเห็นด้วยกับคำแนะนำในรายงานการตรวจสอบทั่วไปที่เพิ่งเผยออกมา ที่ได้ตรวจสอบการควบคุมในการให้นักวิจัยและผู้ให้การศึกษายืมหินดวงจันทร์และวัตถุอวกาศอื่นๆ การตอบสนองจะเห็นผลเร็วๆ นี้จากการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงในการขอยืมและขั้นตอนควบคุมในการเก็บรักษา” โฆษกนาซาแถลง และเสริมด้วยว่า ทางนาซาไม่ได้มองว่าหินดวงจันทร์และตัวอย่างอื่นจากดวงจันทร์จะอยู่ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง และคาดว่าจะใช้เวลาในการปรับปรุงกฏระเบียบในการขอยืมตัวอย่างอวกาศให้เสร็จภายใน 9 เดือน

ทางด้าน โรเบิร์ต เพิร์ลแมน (Robert Pearlman) บรรณาธิการของสเปซด็อทคอมระบุว่า จากรายงานของสำนักงานตรวจสอบทั่วไปนั้น มีตัวอย่างอวกาศของนาซาที่ถูกยืมออกไป 26,000 ชิ้น แต่สูญหายไปเพียง 517 ชิ้น ซึ่งเป็นเรื่องไม่น่าให้อภัยแก่องค์การอวกาศและสำนักงานถือครองสิทธิ์ แต่มีตัวอย่างจากดวงจันทร์จำนวที่กระจายไปทั่วโลก การสูญหายบ้างจึงเป็นเรื่องที่พอจะคาดเดาได้ แต่การสูญหายก็ยังเป็นเรื่องน่าเศร้าและควรจะเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงปัญหาสาธารณะในวงกว้าง

“บางทีนี่อาจจะเป็นสัญญาณของยุคสมัยที่นักวิจัยทางวิทยาศาสตร์บางคนและองค์กรการศึกษาบางแห่งที่ยืมตัวอย่างไปแล้วทำหายนั้น ไม่ได้ตระหนักถึงการเป็นสิ่งหาได้ยากและความสำคัญเชิงประวัติศาสตร์ของวัตถุจากดวงจันทร์เหล่านี้ ดูเหมือนว่าดวงจันทร์หรืออย่างน้อยการสำรวจดวงจันทร์โดยมนุษย์นั้นได้สูญเสียความเรืองรองที่เปล่งแสงออกมาเมื่อ 4 ทศวรรษก่อน” เพิร์ลแมนกล่าว

จากปี 1969 ถึง 1972 มีมนุษย์อวกาศ 12 คน ที่ได้เหยียบบนดวงจันทร์ ระหว่างปฏิบัติภารกิจในโครงการอะพอลโล และในปฏิบัติการลงจอดบนดวงจันทร์ทั้งหมด 6 ครั้งนั้น พวกเขาได้นำตัวอย่างหินและดินดวงจันทร์ หนัก 382 กิโลกรัมกลับมา และนาซาได้ให้พิพิธภัณฑ์ นักวิจัย นักการศึกษาและสถาบันต่างๆ ทั่วโลกยืมหินดวงจันทร์ อุกกาบาตและตัวอย่างจากฝุ่นดาวหางอยู่เป็นประจำ

ในรายงานของผู้ตรวจระบุว่าสำนักงานถือครองสิทธิ์ฯ ของนาซามีวัตถุอวกาศเป็นตัวอย่างจากดวงจันทร์ 140,000 ชิ้น ตัวอย่างอุกกาบาต 18,000 ชิ้น และมีตัวอย่างจากลมสุริยะ ดาวหางและฝุ่นอวกาศอีกประมาณ 5,000 ชิ้น ซึ่งจนถึงเดือน มี.ค.2011 มีตัวอย่างอวกาศเหล่านี้กว่า 26,000 ชิ้น ที่ถูกยืมไปเพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ กิจการการศึกษาและจัดแสดงแก่สาธารณะ

การยกเครื่องระบบครั้งใหญ่เพื่อดูแลการได้ตัวอย่างอวกาศกลับคืนนั้นเป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง แต่เพิร์ลแมนได้ให้ความเห็นว่า เป็นไปได้ว่าคำถามที่สำคัญกว่าคือ ทำไมตัวอย่างเหล่านี้ไม่ถูกนำไปใช้อย่างจริงจัง ทั้งในงานวิจัยปัจจุบันและการศึกษา ซึ่งเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดเจนกว่าการสูญหายหรือถูกขโมย

“ทำไมจึงมีนักวิจัยที่ได้รับตัวอย่างไปแล้วไม่ได้ใช้มัน ทำไมจึงมอบตัวอย่างการศึกษาให้แก่เจ้าหน้าที่บางคน โดยไม่มีคนอื่นตระหนักรู้ถึงวัตถุเหล่านั้น” เพิร์ลแมนให้ความเห็น
ตัวอย่างจากดวงจันทร์หมายเลข 60025 ที่เก็บมาโดยมนุษย์อวกาศในปฏิบัติการอะพอลโล 16 เมื่อปี 1972 ซึ่งเ)้นปฏิบัติการลงจอดดวงจันทร์ครั้งที่ 5 (สเปซด็อทคอม/นาซา)
 
จอห์น ยัง (John Young) ผู้บังคับการในปฏิบัติการอะพอลโล 16 ปักธงชาติสหรัฐฯ บนดวงจันทร์ ซึ่ง ชาร์ลส เอ็ม ดุค (Charles M. Duke) นักบินในปฏิบัติการนี้เป็นผู้บันทึกภาพ(สเปซด็อทคอม/นาซา)


 


เข้าชม : 900


ข่าวประชาสัมพันธ์ 5 อันดับล่าสุด

      ศคส.ปันสุข สนุกกับการเรียนรู้ 13 / ธ.ค. / 2566
      กรมส่งเสริมการเรียนรู้ 18 / พ.ค. / 2566
      ยินดีต้อนรับ ผอ.พิชญณ์ภัทร ศรีประสิทธิ์ 27 / ต.ค. / 2565
      วันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2565 7 / ม.ค. / 2565
      แนะนำหนังสือน่าอ่าน 29 / ต.ค. / 2564




ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ไอคอน : ย่อหน้า จัดซ้าย จัดกลาง จัดขวา ตัวหนา ตัวเอียง เส้นใต้ ตัวยก ตัวห้อย ตัวหนังสือเรืองแสง ตัวหนังสือมีเงา สีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน สีส้ม สีชมพู สีเทา
อ้างอิงคำพูด เพิ่มเพลง เพิ่มวีดีโอคลิป เพิ่มรูปภาพ เพิ่มไฟล์ Flash เพิ่มลิงก์ เพิ่มอีเมล์
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ ที่นี่ เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

 
ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอดอยสะเก็ด  จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-496147
  ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอยสะเก็ด 555 หมู่ที่ 3 ถนนบ่อสร้าง-เชียงใหม่ อำเเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-495500
Doisaketlibrary@gmail.com
libdoisaket@cmi.nfe.go.th
บาคาร่า Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05HD  Update by   นายบุญมา มาดี