[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
  
 


เนื้อหา : เรื่องเด่นวันนี้
หมวดหมู่ : ข่าวประชาสัมพันธ์
หัวข้อเรื่อง : ส่งอุกกาบาตจาก ดาวอังคาร ให้นักวิทย์ไขความลับดาวแดง

พฤหัสบดี ที่ 16 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555


ในจำนวนอุกกาบาตกว่า 41,000 ก้อนที่เรารู้จักมีเพียง 61 ก้อนเป็นอุกกาบาตจากดาวอังคาร และวัตถุหายากดังกล่าวนี้ได้ถูกส่งต่อให้นักวิทยาศาสตร์ที่พิพิธภัณฑ์ลอนดอนเพื่อนำไปไขความลับของดาวแดง ซึ่งนักวิจัยคาดว่าจะช่วยให้เข้าใจสภาพแวดล้อมในอดีตของดาวเพื่อนบ้าน รวมทั้งหาความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์ดวงนี้จะเป็นถิ่นอาศัยของสิ่งมีชีวิต
 
  อุกกาบาตก้อนดังกล่าวถูกพบว่าพุ่งตกสู่โมรอคโคเมื่อเดือน ก.ค.ปีที่ผ่านมา และถูกเก็บกู้มาอย่างรวดเร็ว ซึ่งบีบีซีนิวส์ระบุว่าอุกกาตมีการปนเปื้อนจากสภาพแวดล้อมของโลกเล็กน้อย ล่าสุดผู้บริจาคนิรนามได้ส่งต่อหินอุกกาบาตหนัก 1 กิโลกรัมก้อนนี้ให้แก่พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา (Natural History Museum) ในลอนดอน อังกฤษ
 
  นักวิทยาศาสตร์หวังว่าการศึกษาเคมีเชิงธรณีวิทยาของหินที่ถูกเรียกว่า “ทิสสินท์” (Tissint) นี้จะช่วยให้เข้าสภาพในอดีตของดาวอังคาร รวมถึงความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์ดังกล่าวจะเคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ทั้งนี้ มีคนเป็นประจักษ์พยานการตกสู่โลกของอุกกาบาตจากดาวอังคารเพียง 4 ครั้ง โดยครั้งสุดท้ายคือเมื่อปี 1962 ที่ไนจีเรีย
 
  “อุกกาบาตลูกนี้เป็นอุกกาบาตสำคัญที่สุดที่ตกสู่โลกในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา โดยตกสู่พื้นดินแห้งๆ และถูกเก็บขึ้นมาในเวลาไม่นานหลังจากตกสู่โลกแล้ว และแน่นอนว่าต้องมีการปนเปื้อนอยู่นิดหน่อย มันเหมือนกับอุกกาบาตลูกนี้เพิ่งระเบิดออกมาจากดาวอังคาร มันเป็นตัวอย่างในยุคแรกของดาวอังคารที่มีศักยภาพมาก” ดร.คาโรไลน์ สมิธ (Dr.Caroline Smith) ภัณฑารักษ์อุกกาบาตของพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
 
  หินอุกกาบาตก้อนนี้จะถูกนำไปตรวจสอบด้วยวิธีซีทีสแกน (computed tomography: CT) เพื่อค้นหาโครงสร้างภายในของก้อนหิน และเตรียมการทดลองเพื่อค้นหาองค์ประกอบเคมีของอุกกาบาต นักวิจัยยังจะค้นหาเกลือแร่ที่ก่อรูปในน้ำที่ปรากฏ และสัญญาณโมเลกุล อินทรีย์ที่อุดมด้วยคาร์บอนด้วย ซึ่งอย่างที่เราทราบกันว่าพลังงาน น้ำและองค์ประกอบคาร์บอนนั้นจำเป็นสำคัญรูปแบบชีวิตอย่างที่เรารู้จัก
 
  “มันคือผู้ส่งสาล์นจากดาวอังคาร ที่ช่วยให้คุณย้อนกลับไปดูอดีตของดาวอังคารและการก่อตัว และเป็นบทเรียนประวัติศาสตร์ที่จะบอกว่าบรรยากาศของดาวอังคารในอดีตที่ผ่านมานั้นเป็นอย่างไร จะเป็นสภาพที่เหมาะแก่การดำรงชีวิตหรือไม่” ศ.แอนดรูว โคทส์ (Prof.Andrew Coates) จากปฏิบัติการวิทยาศาสตร์อวกาศมาลลาร์ด (Mullard Space Science Laboratory) ของมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (University College London) กล่าว
 
  อุกกาบาตก้อนนี้ยังเต็มไปด้วยวัตถุที่แวววาวเหมือนแก้วที่เรียกว่า “มัลคิลิไนต์” (maskelynite) ซึ่งก่อตัวขึ้นจากแรกปะทะ ซึ่งเป็นไปได้ว่าเป็นสาเหตุให้มีชิ้นส่วนหลุดออกจากพื้นผิวดาวอังคาร นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังจะวิเคาะห์ก๊าซที่กักไว้ได้ในอุปกรณ์แก้วเพื่อหยั่งถึงสภาพบรรยากาศของดาวอังคาร
 
  จากรายงานของเอพีอุกกาบาตก้อนนี้ได้รับการยืนยันจากผู้เชี่ยวชาญด้านอุกกาบาตหลายๆ คน ซึ่งรวมถึงนักวิทยาศาสตร์จากองค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ซึ่งยืนยันว่าเป็นชิ้นส่วนจากดาวอังคารจริง เมื่อพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีและอายุของวัตถุ
ภาพอุกกาบาตจากดาวอังคารที่ถูกมอบให้แก่พิพิธภัณฑ์ที่ลอนดอนเพื่อนำศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับดาวอังคาร (เอพี)



ภาพอุกกาบาตจากดาวอังคารที่ถูกมอบให้แก่พิพิธภัณฑ์ที่ลอนดอนเพื่อนำศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับดาวอังคาร (เอพี)


นักวิทยาศาสตร์หยิบอุกกาบาตจากดาวอังคารขึ้นมาอย่างระมัดระวัง (ภาพจากคลิปบีบีซีนิวส์)

ในจำนวนอุกกาบาตกว่า 41,000 ก้อนที่เรารู้จักมีเพียง 61 ก้อนเป็นอุกกาบาตจากดาวอังคาร และวัตถุหายากดังกล่าวนี้ได้ถูกส่งต่อให้นักวิทยาศาสตร์ที่พิพิธภัณฑ์ลอนดอนเพื่อนำไปไขความลับของดาวแดง ซึ่งนักวิจัยคาดว่าจะช่วยให้เข้าใจสภาพแวดล้อมในอดีตของดาวเพื่อนบ้าน รวมทั้งหาความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์ดวงนี้จะเป็นถิ่นอาศัยของสิ่งมีชีวิต
 
  อุกกาบาตก้อนดังกล่าวถูกพบว่าพุ่งตกสู่โมรอคโคเมื่อเดือน ก.ค.ปีที่ผ่านมา และถูกเก็บกู้มาอย่างรวดเร็ว ซึ่งบีบีซีนิวส์ระบุว่าอุกกาตมีการปนเปื้อนจากสภาพแวดล้อมของโลกเล็กน้อย ล่าสุดผู้บริจาคนิรนามได้ส่งต่อหินอุกกาบาตหนัก 1 กิโลกรัมก้อนนี้ให้แก่พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา (Natural History Museum) ในลอนดอน อังกฤษ
 
  นักวิทยาศาสตร์หวังว่าการศึกษาเคมีเชิงธรณีวิทยาของหินที่ถูกเรียกว่า “ทิสสินท์” (Tissint) นี้จะช่วยให้เข้าสภาพในอดีตของดาวอังคาร รวมถึงความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์ดังกล่าวจะเคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ทั้งนี้ มีคนเป็นประจักษ์พยานการตกสู่โลกของอุกกาบาตจากดาวอังคารเพียง 4 ครั้ง โดยครั้งสุดท้ายคือเมื่อปี 1962 ที่ไนจีเรีย
 
  “อุกกาบาตลูกนี้เป็นอุกกาบาตสำคัญที่สุดที่ตกสู่โลกในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา โดยตกสู่พื้นดินแห้งๆ และถูกเก็บขึ้นมาในเวลาไม่นานหลังจากตกสู่โลกแล้ว และแน่นอนว่าต้องมีการปนเปื้อนอยู่นิดหน่อย มันเหมือนกับอุกกาบาตลูกนี้เพิ่งระเบิดออกมาจากดาวอังคาร มันเป็นตัวอย่างในยุคแรกของดาวอังคารที่มีศักยภาพมาก” ดร.คาโรไลน์ สมิธ (Dr.Caroline Smith) ภัณฑารักษ์อุกกาบาตของพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
 
  หินอุกกาบาตก้อนนี้จะถูกนำไปตรวจสอบด้วยวิธีซีทีสแกน (computed tomography: CT) เพื่อค้นหาโครงสร้างภายในของก้อนหิน และเตรียมการทดลองเพื่อค้นหาองค์ประกอบเคมีของอุกกาบาต นักวิจัยยังจะค้นหาเกลือแร่ที่ก่อรูปในน้ำที่ปรากฏ และสัญญาณโมเลกุล อินทรีย์ที่อุดมด้วยคาร์บอนด้วย ซึ่งอย่างที่เราทราบกันว่าพลังงาน น้ำและองค์ประกอบคาร์บอนนั้นจำเป็นสำคัญรูปแบบชีวิตอย่างที่เรารู้จัก
 
  “มันคือผู้ส่งสาล์นจากดาวอังคาร ที่ช่วยให้คุณย้อนกลับไปดูอดีตของดาวอังคารและการก่อตัว และเป็นบทเรียนประวัติศาสตร์ที่จะบอกว่าบรรยากาศของดาวอังคารในอดีตที่ผ่านมานั้นเป็นอย่างไร จะเป็นสภาพที่เหมาะแก่การดำรงชีวิตหรือไม่” ศ.แอนดรูว โคทส์ (Prof.Andrew Coates) จากปฏิบัติการวิทยาศาสตร์อวกาศมาลลาร์ด (Mullard Space Science Laboratory) ของมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (University College London) กล่าว
 
  อุกกาบาตก้อนนี้ยังเต็มไปด้วยวัตถุที่แวววาวเหมือนแก้วที่เรียกว่า “มัลคิลิไนต์” (maskelynite) ซึ่งก่อตัวขึ้นจากแรกปะทะ ซึ่งเป็นไปได้ว่าเป็นสาเหตุให้มีชิ้นส่วนหลุดออกจากพื้นผิวดาวอังคาร นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังจะวิเคาะห์ก๊าซที่กักไว้ได้ในอุปกรณ์แก้วเพื่อหยั่งถึงสภาพบรรยากาศของดาวอังคาร
 
  จากรายงานของเอพีอุกกาบาตก้อนนี้ได้รับการยืนยันจากผู้เชี่ยวชาญด้านอุกกาบาตหลายๆ คน ซึ่งรวมถึงนักวิทยาศาสตร์จากองค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ซึ่งยืนยันว่าเป็นชิ้นส่วนจากดาวอังคารจริง เมื่อพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีและอายุของวัตถุ
ภาพอุกกาบาตจากดาวอังคารที่ถูกมอบให้แก่พิพิธภัณฑ์ที่ลอนดอนเพื่อนำศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับดาวอังคาร (เอพี)
ในจำนวนอุกกาบาตกว่า 41,000 ก้อนที่เรารู้จักมีเพียง 61 ก้อนเป็นอุกกาบาตจากดาวอังคาร และวัตถุหายากดังกล่าวนี้ได้ถูกส่งต่อให้นักวิทยาศาสตร์ที่พิพิธภัณฑ์ลอนดอนเพื่อนำไปไขความลับของดาวแดง ซึ่งนักวิจัยคาดว่าจะช่วยให้เข้าใจสภาพแวดล้อมในอดีตของดาวเพื่อนบ้าน รวมทั้งหาความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์ดวงนี้จะเป็นถิ่นอาศัยของสิ่งมีชีวิต
 
  อุกกาบาตก้อนดังกล่าวถูกพบว่าพุ่งตกสู่โมรอคโคเมื่อเดือน ก.ค.ปีที่ผ่านมา และถูกเก็บกู้มาอย่างรวดเร็ว ซึ่งบีบีซีนิวส์ระบุว่าอุกกาตมีการปนเปื้อนจากสภาพแวดล้อมของโลกเล็กน้อย ล่าสุดผู้บริจาคนิรนามได้ส่งต่อหินอุกกาบาตหนัก 1 กิโลกรัมก้อนนี้ให้แก่พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา (Natural History Museum) ในลอนดอน อังกฤษ
 
  นักวิทยาศาสตร์หวังว่าการศึกษาเคมีเชิงธรณีวิทยาของหินที่ถูกเรียกว่า “ทิสสินท์” (Tissint) นี้จะช่วยให้เข้าสภาพในอดีตของดาวอังคาร รวมถึงความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์ดังกล่าวจะเคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ทั้งนี้ มีคนเป็นประจักษ์พยานการตกสู่โลกของอุกกาบาตจากดาวอังคารเพียง 4 ครั้ง โดยครั้งสุดท้ายคือเมื่อปี 1962 ที่ไนจีเรีย
 
  “อุกกาบาตลูกนี้เป็นอุกกาบาตสำคัญที่สุดที่ตกสู่โลกในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา โดยตกสู่พื้นดินแห้งๆ และถูกเก็บขึ้นมาในเวลาไม่นานหลังจากตกสู่โลกแล้ว และแน่นอนว่าต้องมีการปนเปื้อนอยู่นิดหน่อย มันเหมือนกับอุกกาบาตลูกนี้เพิ่งระเบิดออกมาจากดาวอังคาร มันเป็นตัวอย่างในยุคแรกของดาวอังคารที่มีศักยภาพมาก” ดร.คาโรไลน์ สมิธ (Dr.Caroline Smith) ภัณฑารักษ์อุกกาบาตของพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
 
  หินอุกกาบาตก้อนนี้จะถูกนำไปตรวจสอบด้วยวิธีซีทีสแกน (computed tomography: CT) เพื่อค้นหาโครงสร้างภายในของก้อนหิน และเตรียมการทดลองเพื่อค้นหาองค์ประกอบเคมีของอุกกาบาต นักวิจัยยังจะค้นหาเกลือแร่ที่ก่อรูปในน้ำที่ปรากฏ และสัญญาณโมเลกุล อินทรีย์ที่อุดมด้วยคาร์บอนด้วย ซึ่งอย่างที่เราทราบกันว่าพลังงาน น้ำและองค์ประกอบคาร์บอนนั้นจำเป็นสำคัญรูปแบบชีวิตอย่างที่เรารู้จัก
 
  “มันคือผู้ส่งสาล์นจากดาวอังคาร ที่ช่วยให้คุณย้อนกลับไปดูอดีตของดาวอังคารและการก่อตัว และเป็นบทเรียนประวัติศาสตร์ที่จะบอกว่าบรรยากาศของดาวอังคารในอดีตที่ผ่านมานั้นเป็นอย่างไร จะเป็นสภาพที่เหมาะแก่การดำรงชีวิตหรือไม่” ศ.แอนดรูว โคทส์ (Prof.Andrew Coates) จากปฏิบัติการวิทยาศาสตร์อวกาศมาลลาร์ด (Mullard Space Science Laboratory) ของมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (University College London) กล่าว
 
  อุกกาบาตก้อนนี้ยังเต็มไปด้วยวัตถุที่แวววาวเหมือนแก้วที่เรียกว่า “มัลคิลิไนต์” (maskelynite) ซึ่งก่อตัวขึ้นจากแรกปะทะ ซึ่งเป็นไปได้ว่าเป็นสาเหตุให้มีชิ้นส่วนหลุดออกจากพื้นผิวดาวอังคาร นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังจะวิเคาะห์ก๊าซที่กักไว้ได้ในอุปกรณ์แก้วเพื่อหยั่งถึงสภาพบรรยากาศของดาวอังคาร
 
  จากรายงานของเอพีอุกกาบาตก้อนนี้ได้รับการยืนยันจากผู้เชี่ยวชาญด้านอุกกาบาตหลายๆ คน ซึ่งรวมถึงนักวิทยาศาสตร์จากองค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ซึ่งยืนยันว่าเป็นชิ้นส่วนจากดาวอังคารจริง เมื่อพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีและอายุของวัตถุ
ภาพอุกกาบาตจากดาวอังคารที่ถูกมอบให้แก่พิพิธภัณฑ์ที่ลอนดอนเพื่อนำศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับดาวอังคาร (เอพี)

ในจำนวนอุกกาบาตกว่า 41,000 ก้อนที่เรารู้จักมีเพียง 61 ก้อนเป็นอุกกาบาตจากดาวอังคาร และวัตถุหายากดังกล่าวนี้ได้ถูกส่งต่อให้นักวิทยาศาสตร์ที่พิพิธภัณฑ์ลอนดอนเพื่อนำไปไขความลับของดาวแดง ซึ่งนักวิจัยคาดว่าจะช่วยให้เข้าใจสภาพแวดล้อมในอดีตของดาวเพื่อนบ้าน รวมทั้งหาความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์ดวงนี้จะเป็นถิ่นอาศัยของสิ่ง
มีชีวิต

 
  อุกกาบาตก้อนดังกล่าวถูกพบว่าพุ่งตกสู่โมรอคโคเมื่อเดือน ก.ค.ปีที่ผ่านมา และถูกเก็บกู้มาอย่างรวดเร็ว ซึ่งบีบีซีนิวส์ระบุว่าอุกกาตมีการปนเปื้อนจากสภาพแวดล้อมของโลกเล็กน้อย ล่าสุดผู้บริจาคนิรนามได้ส่งต่อหินอุกกาบาตหนัก 1 กิโลกรัมก้อนนี้ให้แก่พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา (Natural History Museum) ในลอนดอน อังกฤษ
 
  นักวิทยาศาสตร์หวังว่าการศึกษาเคมีเชิงธรณีวิทยาของหินที่ถูกเรียกว่า “ทิสสินท์” (Tissint) นี้จะช่วยให้เข้าสภาพในอดีตของดาวอังคาร รวมถึงความเป็นไปได้ที่ดาวเคราะห์ดังกล่าวจะเคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ทั้งนี้ มีคนเป็นประจักษ์พยานการตกสู่โลกของอุกกาบาตจากดาวอังคารเพียง 4 ครั้ง โดยครั้งสุดท้ายคือเมื่อปี 1962 ที่ไนจีเรีย
 
  “อุกกาบาตลูกนี้เป็นอุกกาบาตสำคัญที่สุดที่ตกสู่โลกในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา โดยตกสู่พื้นดินแห้งๆ และถูกเก็บขึ้นมาในเวลาไม่นานหลังจากตกสู่โลกแล้ว และแน่นอนว่าต้องมีการปนเปื้อนอยู่นิดหน่อย มันเหมือนกับอุกกาบาตลูกนี้เพิ่งระเบิดออกมาจากดาวอังคาร มันเป็นตัวอย่างในยุคแรกของดาวอังคารที่มีศักยภาพมาก” ดร.คาโรไลน์ สมิธ (Dr.Caroline Smith) ภัณฑารักษ์อุกกาบาตของพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
 
  หินอุกกาบาตก้อนนี้จะถูกนำไปตรวจสอบด้วยวิธีซีทีสแกน (computed tomography: CT) เพื่อค้นหาโครงสร้างภายในของก้อนหิน และเตรียมการทดลองเพื่อค้นหาองค์ประกอบเคมีของอุกกาบาต นักวิจัยยังจะค้นหาเกลือแร่ที่ก่อรูปในน้ำที่ปรากฏ และสัญญาณโมเลกุล อินทรีย์ที่อุดมด้วยคาร์บอนด้วย ซึ่งอย่างที่เราทราบกันว่าพลังงาน น้ำและองค์ประกอบคาร์บอนนั้นจำเป็นสำคัญรูปแบบชีวิตอย่างที่เรารู้จัก
 
  “มันคือผู้ส่งสาล์นจากดาวอังคาร ที่ช่วยให้คุณย้อนกลับไปดูอดีตของดาวอังคารและการก่อตัว และเป็นบทเรียนประวัติศาสตร์ที่จะบอกว่าบรรยากาศของดาวอังคารในอดีตที่ผ่านมานั้นเป็นอย่างไร จะเป็นสภาพที่เหมาะแก่การดำรงชีวิตหรือไม่” ศ.แอนดรูว โคทส์ (Prof.Andrew Coates) จากปฏิบัติการวิทยาศาสตร์อวกาศมาลลาร์ด (Mullard Space Science Laboratory) ของมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (University College London) กล่าว
 
  อุกกาบาตก้อนนี้ยังเต็มไปด้วยวัตถุที่แวววาวเหมือนแก้วที่เรียกว่า “มัลคิลิไนต์” (maskelynite) ซึ่งก่อตัวขึ้นจากแรกปะทะ ซึ่งเป็นไปได้ว่าเป็นสาเหตุให้มีชิ้นส่วนหลุดออกจากพื้นผิวดาวอังคาร นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังจะวิเคาะห์ก๊าซที่กักไว้ได้ในอุปกรณ์แก้วเพื่อหยั่งถึงสภาพบรรยากาศของดาวอังคาร
 
  จากรายงานของเอพีอุกกาบาตก้อนนี้ได้รับการยืนยันจากผู้เชี่ยวชาญด้านอุกกาบาตหลายๆ คน ซึ่งรวมถึงนักวิทยาศาสตร์จากองค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ซึ่งยืนยันว่าเป็นชิ้นส่วนจากดาวอังคารจริง เมื่อพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีและอายุของวัตถุ








เข้าชม : 944


ข่าวประชาสัมพันธ์ 5 อันดับล่าสุด

      ศคส.ปันสุข สนุกกับการเรียนรู้ 13 / ธ.ค. / 2566
      กรมส่งเสริมการเรียนรู้ 18 / พ.ค. / 2566
      ยินดีต้อนรับ ผอ.พิชญณ์ภัทร ศรีประสิทธิ์ 27 / ต.ค. / 2565
      วันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2565 7 / ม.ค. / 2565
      แนะนำหนังสือน่าอ่าน 29 / ต.ค. / 2564




ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ไอคอน : ย่อหน้า จัดซ้าย จัดกลาง จัดขวา ตัวหนา ตัวเอียง เส้นใต้ ตัวยก ตัวห้อย ตัวหนังสือเรืองแสง ตัวหนังสือมีเงา สีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน สีส้ม สีชมพู สีเทา
อ้างอิงคำพูด เพิ่มเพลง เพิ่มวีดีโอคลิป เพิ่มรูปภาพ เพิ่มไฟล์ Flash เพิ่มลิงก์ เพิ่มอีเมล์
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ ที่นี่ เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

 
ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอดอยสะเก็ด  จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-496147
  ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอยสะเก็ด 555 หมู่ที่ 3 ถนนบ่อสร้าง-เชียงใหม่ อำเเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-495500
Doisaketlibrary@gmail.com
libdoisaket@cmi.nfe.go.th
บาคาร่า Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05HD  Update by   นายบุญมา มาดี