เนื้อหา : สาระน่ารู้พัฒนาทักษะชีวิต
หมวดหมู่ : สาระน่ารู้
หัวข้อเรื่อง : เฮือนไทลื้อ บ้านลวงใต้

อังคาร ที่ 22 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2554


ประวัติโดยสังเขปบ้านไทลื้อเมืองลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่

ในปี พ.ศ.2548 นายกเทศมนตรีตำบลดอยสะเก็ด โดยนายดาบตำรวจประดิษฐ์ สะอาดล้วน ซึ่งเป็นนายกเทศมนตรีในสมัยนั้น ได้มีดำริว่าในหมู่บ้านลวงใต้ของเราควรจะมีศูนย์วัฒนธรรมแสดงสินค้าไทลื้อเป็นของหมู่บ้าน จึงได้ไปดูแบบอย่างจากศูนย์วัฒนธรรมบ้านสบแวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา มาเป็นต้นแบบ และได้ออกแบบศูนย์วัฒนธรรมดังกล่าว โดยเป็นบ้านลักษณะแบบบ้านไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูงโล่ง (เพื่อไว้แสดงสินค้า) มีเสาชั้นล่างทั้งหมด 70 ต้น (รวมฮ้านน้ำต้น) และ เสาชั้นบนทั้งหมด 48 ต้นได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างจากทางเทศบาลฯ โดยใช้งบประมาณจำนวน 3,390,000 บาท (สามล้านสามแสนเก้าหมื่นบาทถ้วน) ได้เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2548 และแล้วเสร็จในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2548 รวมเวลาก่อสร้างประมาณ 6 เดือนเศษ

สถานที่ก่อสร้าง ได้สร้างบริเวณที่ดินหน้าวัดรังสีสุทธาวาส (วัดลวงใต้) หมู่ที่ 8 ตำบล เชิงดอย อำเภอ ดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ บนเนื้อที่ประมาณ 136 ตารางวา





บ้านไทลื้อเมืองลวงใต้ ได้สร้างบริเวณที่ดินหน้าวัดรังสีสุทธาวาส (วัดลวงใต้)



ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า



 ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า
บ้านไทลื้อเมือง บ้าน ลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ..ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่






 ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า
เครื่องทอผ้า ณ.บ้านไทลื้อเมือง บ้าน ลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ..ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่




ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า
ณ.บ้านไทลื้อเมือง บ้าน ลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ..ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่




ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า
ณ.บ้านไทลื้อเมือง บ้าน ลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ..ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่






 ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า
ณ.บ้านไทลื้อเมือง บ้าน ลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ..ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่





ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า
ณ.บ้านไทลื้อเมือง บ้าน ลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ..ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่





 ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า : เครื่องทอผ้า
ณ.บ้านไทลื้อเมือง บ้าน ลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ..ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่




ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า : เครื่องทอผ้า
ณ.บ้านไทลื้อเมือง บ้าน ลวงใต้ ม.8 ต.เชิงดอย อ..ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่






อุปกรณ์เครื่องทอผ้า














ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า





ผู้หญิงไทลื้อกับการทอผ้า





ประวัติความเป็นมา

ในต้นพุทธศตวรรษที่ 24 เมืองเชียงใหม่และเมืองน่านได้เข้าไปมีบทบาททางการเมืองและการทหารในสิบสองปันนาและเชียงตุง จึงมีการกวาดต้อนและชักจูงให้ชุมชนไทลื้อในเมืองต่างๆ โดยเฉพาะเขตตะวันออกของแม่น้ำโขง ให้เข้ามาตั้งรกรากในเขตแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองของเมืองน่าน
ในสมัยนั้นซึ่งครอบคลุมเข้าไปถึงแขวงหลวงน้ำทา อุดมชัย และ ไชยบุรีในประเทศลาวปัจจุบัน


จาการค้นคว้าสัณนิฐานว่าบริเวณที่อำเภอดอยสะเก็ด เป็นบริเวณแรกที่ชาวไทลื้อ กลุ่มเมืองเชียงรุ่ง เมืองฮำ เมืองแช่ เมืองลู เมืองออง เมืองลวง มาตั้งรกรากอยู่เมื่อประมาณ 200 กว่าปีมาแล้ว และต่อมาเมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้นก็มีการขยายชุมชนตามที่ราบลุ่มของแม่น้ำต่างๆในจังหวัดเชียงใหม่จนปัจจุบัน ชาวบ้านไตลื้อในอำเภอดอยสะเก็ดมีประมาณ 4 หมู่บ้าน




 ที่มาของไตลื้อ









วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ของชาวไตลื้อ



ภาษาไทลื้อ



 อาหารไตลื้อ









บ้านไทลื้อเมืองลวงใต้
บ้าน.ลวงใต้ หมู่.8 ตำบล.เชิงดอย อำเภอ.ดอยสะเก็ด จังหวัด.เชียงใหม่


บ้านไทลื้อเมืองลวงใต้ ซึ่งตั้งอยู่บริเวณหน้าวัดลวงใต้ บ้าน.ลวงใต้ หมู่.8 ตำบล.เชิงดอย อำเภอ.ดอยสะเก็ด จังหวัด.เชียงใหม่

ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก Moonfleet



เข้าชม : 5698


สาระน่ารู้ 5 อันดับล่าสุด

      ส้าผัก 25 / เม.ย. / 2566
      พรบ.กรมส่งเสริมการเรียนรู้ 5 / เม.ย. / 2566
      วันท่องเที่ยวโลก 25 / ก.ย. / 2565
      เทศกาลกินเจ 2565 25 / ก.ย. / 2565
      24 กันยายน วันมหิดล 25 / ก.ย. / 2565




ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ไอคอน : ย่อหน้า จัดซ้าย จัดกลาง จัดขวา ตัวหนา ตัวเอียง เส้นใต้ ตัวยก ตัวห้อย ตัวหนังสือเรืองแสง ตัวหนังสือมีเงา สีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน สีส้ม สีชมพู สีเทา
อ้างอิงคำพูด เพิ่มเพลง เพิ่มวีดีโอคลิป เพิ่มรูปภาพ เพิ่มไฟล์ Flash เพิ่มลิงก์ เพิ่มอีเมล์
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้ง ที่นี่ เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป